สำหรับใครที่กำลังวางแผนจะมีลูก หรือใครที่กำลังจะเป็นคุณแม่มือใหม่ อาจมีคำถามเกิดขึ้นมากมาย เนื่องจากความเปลี่ยนแปลงของร่างกายที่เกิดขึ้นอย่างรวดเร็ว ไม่ว่าจะเป็นในเรื่องของระดับฮอร์โมน อาการวิงเวียนศีรษะ แพ้ท้องหน้ามืด หรือรวมไปถึงในเรื่องของน้ำหนักตัว ที่เพิ่มสูงขึ้นอย่างต่อเนื่องจนน่าตกใจ ซึ่งคุณแม่ไม่ต้องเป็นกังวลใจไป การเพิ่มขึ้นของน้ำหนักตัวนั้นเป็นเรื่องปกติที่คุณแม่ตั้งครรภ์ต้องทำความเข้าใจ และยอมรับ ซึ่งการเพิ่มขึ้นของน้ำหนักตัวของคุณแม่นั้น สอดคล้องกับการเจริญเติบโตของทารกในครรภ์ สารอาหารที่คุณแม่ได้ทานเข้าไปนั้น ล้วนแล้วแต่ไปบำรุงลูกน้อยในครรภ์ทั้งนั้น ซึ่งในช่วงตั้งครรภ์นี้คุณแม่ต้องปล่อยใจสบายๆ ไม่ต้องเป็นกังวลในเรื่องของน้ำหนักตัว เมื่อคลอดลูกน้อยออกมาแล้วนั้น ก็มีโอกาสที่จะกลับไปน้ำหนักตัวเท่าเดิมได้เช่นกัน วันนี้เราจึงมีข้อมูลดีๆเกี่ยวกับการเพิ่มขึ้นของน้ำหนักตัวของคุณแม่มาฝากกัน ว่าในช่วงตั้งครรภ์ในแต่ละไตรมาสนั้น ควรเพิ่มขึ้นเท่าไหร่ถึงจะอยู่ในเกณฑ์ปกติ สำหรับใครที่สนใจนั้น ไปติดตามข้อมูลกันได้เลย
- ในช่วงการตั้งครรภ์ น้ำหนักที่เพิ่มขึ้นนั้นถือเป็นเรื่องปกติ เพราะในช่วงตั้งครรภ์นี้ ร่างกายจะต้องการพลังงานเพิ่มขึ้นจากเดิมประมาณ 300 กิโลแคลอรีต่อวัน เพื่อใช้ในการสร้างเนื้อเยื่อให้กับลูกน้อย
- อาหารที่คุณแม่ท้องควรทานเพื่อเพิ่มน้ำหนักตัวให้กับลูกน้อย ควรเน้นเป็นอาหารสดใหม่ที่ได้จากธรรมชาติ ผ่านการปรุงแต่งน้อย หลีกเลี่ยงอาหารกระป๋องหรืออาหารสำเร็จรูป โดยแบ่งเป็นมื้อย่อยๆ วันละ 5-6 มื้อ โดยเน้นเป็นโปรตีนเพื่อช่วยเสริมสร้างการเจริญเติบโตให้กับลูกน้อย คุณแม่ก็จะมีน้ำหนักตัวที่เพิ่มขึ้นตามเกณฑ์มาตรฐานที่กำหนดไว้
- ซึ่งคุณแม่สามารถคำนวณ น้ำหนักที่เพิ่มขึ้นได้ให้เป็นไปตามเกณฑ์มาตรฐานที่กำหนดเพื่อการเจริญเติบโตของลูกน้อยในครรภ์ให้เป็นไปอย่างสมบูรณ์ โดยคำนวณจากดัชนีมวลกายก่อนการตั้งครรภ์ คำนวณจาก น้ำหนักตัว หารด้วยส่วนสูง ยกกำลังสอง จะได้ดัชนีมวลกายก่อนการตั้งครรภ์ เช่น หากก่อนตั้งครรภ์คุณแม่มีน้ำหนักตัวปกติ (18.5-24.9) น้ำหนักตัวที่เพิ่มจากการตั้งครรภ์ควรเท่ากับ
- โดยในช่วงไตรมาสที่ 3 หรืออายุครรภ์ตั้งแต่ 7-9 เดือน ในช่วงนี้ทารกในครรภ์จะเจริญเติบโตอย่างรวดเร็ว จำเป็นต้องได้รับสารอาหารเพื่อมาเสริมสร้างเซลล์ต่างๆของร่างกายอย่างมาก จึงทำให้คุณแม่มักหิวอยู่บ่อยๆ และทานได้เยอะมากยิ่งขึ้น ช่วงไตรมาสนี้รูปร่างของคุณแม่จะเปลี่ยนไปอย่างชัดเจน เพราะน้ำหนักที่เพิ่มขึ้นอย่างน้อย สัปดาห์ละ 0.5 kg หรือประมาณ เดือนละ 2-2.5 kg
- ซึ่งในแต่ละไตรมาสนั้น ลูกน้อยในครรภ์จะเจริญเติบโตอย่างต่อเนื่อง คุณแม่ตั้งครรภ์ควรให้ความสำคัญกับน้ำหนักตัว ให้เพิ่มสูงขึ้นตามเกณฑ์มาตรฐานที่ได้กำหนดไว้ ทั้งนี้จะต้องได้รับสารอาหารที่เป็นประโยชน์เพิ่มการเสริมสร้างเซลล์สมองและร่างกายของลูกน้อยให้สมบูรณ์แข็งแรงตั้งแต่อยู่ภายในครรภ์
- สิ่งที่สำคัญในการดูแลน้ำหนักตัวในช่วงการตั้งครรภ์นั้น ไม่ใช่ช่วงที่จะมาควบคุมอาหารหรือลดน้ำหนักในช่วงนี้ คุณแม่ควรทานอาหารที่มีประโยชน์ให้เต็มที่ เพื่อการเสริมสร้างพัฒนาการของลูกน้อยในครรภ์ให้เจริญเติบโตได้อย่างสมบูรณ์
- ซึ่งน้ำหนักตัวในช่วงตั้งครรภ์นั้นจะเพิ่มขึ้นหรือลดลงแตกต่างกันในแต่ละท่าน ซึ่งขึ้นอยู่กับส่วนสูงของแต่ละคนนั่นเอง โดยน้ำหนักตัวที่เพิ่มขึ้นตลอดระยะเวลาการตั้งครรภ์นั้นจะคำนวณได้จาก ดัชนีมวลกาย ซึ่งจะสามารถบอกสถานะของคุณแม่ในช่วงตั้งครรภ์ได้เป็นอย่างดีว่ามีน้ำหนักตัวที่เพอ่มขึ้นตามเกณฑ์หรือไม่ โดยทั่วไปแล้วตลอดระยะเวลาตั้งครรภ์ น้ำหนักจะต้องเพิ่มขึ้นไม่น้อยกว่า 7 kg และไม่ควรเกิน 13 kg นั่นเอง
- ในกรณีที่คุณน้ำหนักตัวไม่เพิ่มขึ้นเลยในช่วง 2 – 4 เดือนแรก หรือน้ำหนักตัวเพิ่มมากขึ้นจนเกินเกณฑ์มาตรฐาน ซึ่งอาจเสี่ยงต่อการเป็นโรคเบาหวานขณะตั้งครรภ์ได้ ควรปรึกษาแพทย์ผู้เชี่ยวชาญ เพื่อมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมต่างๆให้เหมาะสมเพิ่มมากยิ่งขึ้นนั่นเอง
ซึ่งการคำนวณดัชนีมวลกายก่อนตั้งครรภ์นั้นสามารถทำนาย น้ำหนักที่จะเพิ่มขึ้นตามเกณฑ์มาตรฐานได้ ดังนี้ BMI < 18.5 (ผอม) น้ำหนักควรเพิ่มขึ้นประมาณ 12.5 – 18.0 kg , BMI 18.5 – 24.9 (น้ำหนักตัวปกติ) น้ำหนักควรเพิ่มขึ้น 11.5 – 16.0 kg , BMI 25.0 – 29.9 (น้ำหนักตัวเกิน) น้ำหนักควรเพิ่มขึ้น 7.0 – 11.5 kg เป็นต้น จะเห็นได้ว่าน้ำหนักของแต่ละคนในช่วงตั้งครรภ์นั้นสามารถเพิ่มขึ้นได้แตกต่างกันในแต่ละคน ดังนั้นคุณแม่จึงไม่ต้องเป็นกังวลใจไปในเรื่องของน้ำหนักตัว
Credit สล็อตฝากถอนไม่มีขั้นต่ำ